ชิมช้อปใช้ กระตุ้นเศรษฐกิจ ไม่รู้ว่ารัฐบาลหรือประชาชนที่เสพติด”ชิม ช้อปใช้”เพราะแค่6เดือนที่เข้ามาบริหารประเทศรัฐบาลลุงตู่2ก็คลอดมาแล้ว 3 เฟสราวกับโครงการบ้านจัดสรร และล่าสุด”ชิม ช้อป ใช้ เฟส 4”อ้างว่าเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจสู้กับไวรัสโคโรนา ซึ่งไม่รู้ว่าจะสู้ไหวหรือไม
มาตรการส่งเสริมการบริโภคและการท่องเที่ยวในประเทศ “ชิมช้อปใช้” รับเงินผ่าน “เป๋าตัง” (G-Wallet) เป็นหนึ่งในชุดมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมหภาค ที่รัฐบาลประกาศในเดือน สิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา เพื่อรับมือกับเศรษฐกิจที่กำลังชะลอตัวจากพิษสงครามการค้าสหรัฐฯ-จีน ร่วมกับมาตรการอื่น ๆ Slotgame
เช่น มาตรการเติมเงินบัตรประชารัฐ มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยและเกษตรกรประสบภัยแล้ง มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ และมาตรการสนับสนุน SMEs 480p low geselecteerd als afspeelkwaliteit
เมื่อเทียบกับมาตรการอื่น ๆ ที่กล่าวถึงข้างต้น มาตรการชิมช้อปใช้ เป็นนโยบายที่ถูกพูดถึงมากที่สุด ทั้งโดยสื่อมวลชน นักวิชาการ หรือประชาชนทั่วไป ดังนั้น หากจะประเมินผลสำเร็จของโครงการ มาตรการชิมช้อปใช้ ถือว่าประสบความสำเร็จในด้านการตลาดอย่างมาก แม้ว่าในด้านผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจมหภาคของมาตรการชิมช้อปใช้ยังถูกตั้งคำถามอยู่ว่า จะสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้มากน้อยเพียงใด? กีฬา https://betufa.asia/google-map-2/
ในแง่วัตถุประสงค์ของมาตรการชิมช้อปใช้ ถือเป็นหนึ่งในมาตรการกระตุ้นการบริโภคภาคเอกชน ตามที่มีการประกาศโครงการในเดือนสิงหาคม อย่างไรก็ตาม จากการออกแบบกลไกในจ่ายเงิน ทำให้มาตรการนี้ถูกกล่าวถึงในด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลและการใช้ระบบการชำระเงินออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน ให้กระจายถึง กลุ่มคนจำนวนมากขึ้น โดยใช้เงินโอนจากรัฐบาลในการสร้างแรงจูงใจ
นอกจากนี้ ยังถูกล่าวถึงในด้านของการส่งเสริมธุรกิจท่องเที่ยวเนื่องจากการมีการกำหนดเงื่อนไขในการใช้เงินโอนจากภาครัฐ (กระเป๋าที่ 1,2,3) ในต่างจังหวัด (นอกที่อยู่ภูมิลำเนาในบัตรประชาชน) ดังนั้น โดยการออกแบบ มาตรการชิมช้อปใช้ จึงเสมือนถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนอง 3 วัตถุประสงค์ข้างต้น ซึ่งจากข้อมูลในปัจจุบันผลสำเร็จและอุปสรรคของ 3 วัตถุประสงค์ข้างต้น ที่พอจะประเมินได้ ณ ปัจจุบัน ประกอบด้วย
หนึ่ง ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลโดยให้มีการลงทะเบียนแอปพลิเคชัน และรับเงินผ่าน G-wallet แทนที่จะใช้ช่องทางการรับเงินอื่นๆ ที่เคยใช้ในอดีต เช่น ประกันสังคม การลดหย่อนภาษีฯผ่านสรรพากร สล๊อตออนไลน์
ซึ่งจากข้อมูลในเฟสแรก ยอดการใช้จ่ายส่วนใหญ่จะอยู่ในจังหวัดรอบ ๆ กรุงเทพฯ และหัวเมืองใหญ่ในภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่มีการเข้าถึงระบบออนไลน์ทั้งโดย 4G, broadband, Wifi ที่ดีเทียบกับจังหวัดอื่น ๆ ดังนั้น การตั้งความหวังให้มีการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล และระบบการชำระเงินออนไลน์ ที่เพิ่มขึ้นยังคงไม่มีความชัดเจน ufabet
ก่อนที่กระทรวงคลังจะออกชิมช้อปใช้เฟส4 รัฐมนตรีกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬาไปไกลถึงขั้นคิดจะออก”ชิมช้อปใช้ อินเตอร์”แจก “คูปองเงินสด” ให้แก่นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในบ้านเรา อ้างว่า เพื่อชดเชยที่ “ค่าเงินบาทแข็งค่า”มากกว่า 10% ทำให้ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยจะใช้เงินที่จากงบประมาณกลางซึ่งเป็นภาษีประชาชน หนังออนไลน์
ทันทีมีไอเดียนี้ออกมา ก็มีเสียงคัดค้านกันกระหึ่มกันทั้งบ้านทั้งเมือง ประกอบกับเกิดโรคไวรัสโคโรนาเสียก่อน เรื่องก็เลยเงียบไป
ล่าสุดกระทรวงคลังที่ยังติดใจ”ชิมช้อปใช้”ก็เลยทำคลอด “ชิมช้อปใช้ เฟส4”หวังจะเอามาเป็นเครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจสู้กับโรคระบาดไวรัส โคโรนา ที่ฟาดหางใส่ธุรกิจท่องเที่ยวบ้านเรา ทำให้ลูกค้าหายไปกว่า 80 %- Advertisement –
ขณะที่ ชิม ช้อป ใช้เฟส 3ทีเพิ่งปิดจ็อบเมื่อสิ้นเดือนมกราคมที่ผ่านมามีโกงกันสะบั้น ชาวบ้านบางส่วนโกงเงินกระเป๋า 2 ด้วยการสแกนใช้จ่ายเงินในพื้นที่เดียวกันซ้ำ ๆ หลายรอบ เช่นใช้ซื้อกาแฟวันละ 3-5 หมื่นบาท พฤติกรรมนี้ระบาดไปทั่วประเทศ
นอกจากนี้ยังมีร้านค้ากว่า 1 พันแห่ง ที่สงสัยว่าจะเข้าข่ายทุจริตโดยจะใช้วิธี ร้านค้าโอนเงินไปให้คนซื้อ เพื่อมาซื้อสินค้าในร้าน ถ้าซื้อสินค้า 5 หมื่นบาท จะได้รับเงินคืนจากภาครัฐ 8,500 บาท แล้วก็นำมาแบ่งกัน ซึ่งยังมีวิธีโกงอื่นๆอีกมากมมายหลายรูปแบบ
ที่ผ่านมากระทรวงการคลังมีการประเมินผลหรือไม่ว่า ที่ผุดมาตรการชิมช้อปใช้ตั้งแต่เฟส 1 เฟส2 เฟส3 นั้น กระตุ้นเศรษฐกิจได้มากน้อยแค่ไหนคุ้มกับงบประมาณที่ใส่ลงไปหรือไม่ มีใครได้ประโยชน์บ้าง เงินไปถึงชุมชน มากน้อยแค่ไหน ไปตกอยู่กับกลุ่มทุนยักษ์ ใหญ่เท่าไหร่
เงินที่ใส่เข้าไปหมุนกี่รอบหาก ไม่ทำการประเมินอย่างจริงๆจังๆก็จะไม่รู้ว่าเม็ดเงินที่ใส่ไปเกิดประโยชน์หรือไม่
สำหรับ ชิม ช้อป ใช้ เฟส 4 อ้างว่าจะเป็นการช่วยกลุ่มธุรกิจโรงแรม อันนี้พอเข้าใจได้เพราะมีคนที่อยู่ในวงจรธุรกิจนี้ค่อนข้างมาก กำลังได้รับความเดือดร้อนอย่างหนักจากกรณีที่ถูกไวรัสโคโรนาฟาดหางเข้าใส่แต่ก็ต้องถามว่าที่ผ่านมาที่ช่วยธุรกิจท่องเที่ยวนั้นเงินตกอยู่ในกลุ่มธุรกิจเท่าไหร่ไปถึงคนทำงานหรือไม่
ขณะที่บ้านเรากำลังเจอปัญหาหนี้ครัวเรือนล่าสุดพุ่งสูง140กว่า%แล้วแบงก์ชาติกำลังปวดหัวหนัก วิธีเดียวที่จะแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนได้ ประชาชนต้องรู้จักออม เพราะหนี้ครัวเรือนนั้นเกิดจากพฤติกรรมสุรุ่ยสุร่ายของคนไทยประเภท”ช้อปง่าย จ่ายแหลก แดกด่วน” จนเป็นหนี้หัวโต
แต่ 6 เดือนที่ผ่านมา รัฐบาลกลับมีแต่นโยบายที่ให้ประชาชนออกมาใช้เงินเยอะๆช้ชีวิตฟุ่มเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ปั้นตัวเลขจีดีพี.เพื่อให้ธุรกิจอยู่รอด แต่ภาระตกอยู่กับประชาชนที่ ต้องเป็นหนี้ ที่กู้เงินมาจับจ่ายใช้สอย กระตุ้นเศรษฐกิจ ตามนโยบายรัฐบาล
หากรัฐบาลจะกระตุ้นการท่องเที่ยว ที่กำลังนอนหายใจผงาบๆอยู่ในห้องไอซียู ควรจะรณรงค์หรือหากลยุทธ์ให้บรรดาเศรษฐี หรือพวกชนชั้นกลาง ที่รสนิยมสูงชอบขนเงินไปเที่ยว ไปช้อปปิ้งต่างประเทศ ให้มีจิตสำนึกรักชาติ หันกลับมาเที่ยวเมืองไทย ช่วยเหลือธุรกิจท่องเที่ยวคนไทยน่าจะดีกว่า
อยากให้มีการประเมินผลความสำเร็จของโครงการ 3 เฟสที่ผ่านมานโยบายนี้มีผลในการกระตุ้นเศรษฐกิจหรือไม่อย่างไรไม่ใช่นับว่ามีเงินใช้จ่ายผ่านโครงการเท่าไร แต่มีผลในการกระตุ้นเศรษฐกิจเท่าไรใครได้ประโยชน์บ้าง? พฤติกรรมเป็นอย่างไร?
โหลดเว็บช้า สแกนหน้าไม่ผ่าน เข้าแอปจ่ายตังค์ไม่ได้
ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ในด้านบวกหรือลบ เราคงปฏิเสธ ๆไม่ได้ว่า โครงการ “ชิม ช้อป ใช้” เป็นโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลที่ได้รับความสนใจมากที่สุดโครงการหนึ่ง กลายเป็น “ทอล์ก ออฟ เดอะทาวน์” ที่ถูกพูดถึงมากที่สุด ติดเทรนด์ ทั้งสภากาแฟทุกย่าน ทุกตลาด และเทรนด์ในโลกโซเชียล
โดยตั้งแต่วันแรกมีประชาชนสนใจเต็มโควตา ส่งผลให้เว็บไซต์ www.ชิมช้อปใช้.com ไม่สามารถให้บริการได้ และตลอด 12 วันของการเปิดลงทะเบียน เต็มโควตาภายในเวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมง ขณะที่อีกปัญหาที่ร้องเรียนมาก
คือ การยืนยันตัวตนในแอป “เป๋าตัง” ที่ใช้ระบบสแกนใบหน้าเทียบกับบัตรประชาชนไม่ผ่าน จนต้องแชร์คลิปเคล็ดลับ การสแกนหน้า ให้ผ่านด้วยวิธีต่าง ๆผ่านโลกออนไลน์ ส่วนอีกหลายคนพบปัญหาไม่สามารถยืนยันสิทธิ์ได้ แม้ไปยืนยันที่สาขา ของธนาคารกรุงไทย เพราะระบบให้บริการที่สาขาก็ล่มเช่นกัน
ส่วนคนที่ฝ่าฟันรอบแรกเข้าสู่รอบไฟนอล ได้รับสิทธิ์ 1,000 บาทแล้ว เข้าสู่ช่วงของการใช้จ่าย แต่เข้าสู่แอป “เป๋าตัง” ไม่ได้ หรือแม่ค้าไม่สามารถเปิดแอป “เป๋าเงิน” เพื่อทำรายการได้ หรือเข้าได้แต่จ่ายตังค์ ไม่ได้ เพราะระบบค้าง ส่งผลให้ต้องจ่ายเงิน ของตัวเองซื้อของ หรือบางรายเลือกที่จะ “ทิ้งสินค้า”
Last Update : 5 สิงหาคม 2020 (ข้อมูลล่าสุดปี 2020)