เชื่อเลยค่ะ ว่าการฟังเพลงนั้น มีผลต่อจิตใจ และเชื่อมโยงกับความรู้สึก ของใครหลายๆคนแน่นอน เพราะว่าการฟังเพลงนั้น เป็นสิ่งที่เราจะสามารถรู้สึกได้ด้วยตนเองว่า ในบทความนี้ เราจะพาทุกท่าน ไปรู้จักกับ การฟังเพลง ที่ดีขึ้นไปอีกค่ะ
ในโลกของเรานี้ มีบทเพลงมากมาย ที่สามารถเชื่อมโยง กับความรู้สึกของมนุษย์ได้ เพราะในทุกๆเพลง ส่วนใหญ่ จะแต่งขึ้นมาด้วยความรู้สึก ที่แตกต่างกันออกไป ด้วยทำนองและเนื้อเพลง ก็จะส่งผลให้ผู้ฟังนั้น สามารถรับรู้ถึงความรู้สึก ของผู้แต่งได้นั่นเองค่ะ
หลายครั้ง ที่เรามักจะได้ยินว่าดนตรี เปรียบเสมือนภาษากลาง ที่ช่วยทำหน้าที่สื่อสาร ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ของทุกคนไม่ว่าจะเป็นคนเล่นดนตรี คนแต่งเพลง คนร้อง หรือคนฟังทุกคนสามารถเชื่อมโยงกันได้หมดจากดนตรี
1. ช่วยให้คุณจดจ่อกับสิ่งที่เรียนรู้ได้ดีมากยิ่งขึ้น
ขณะอ่านหนังสือ หรือทำงาน หากเลือกเพลงที่มีเนื้อหาเบาๆ สบายๆ หรือเพลงบรรเลง จะช่วยใก้คุณโฟกัส กับการทำงานหรือการอ่านหนังสือ ได้ดีมากยิ่งขึ้น เพราะจังหวะเพลง จะช่วยให้เราจดจ่อกับสิ่งตรงหน้าได้ดีกว่าเดิม
2. ฟังเพลงโมสาร์ท ช่วยพัฒนาสมอง
การฟังเพลงโมสาร์ท ช่วยในเรื่องของการพัฒนาสมองได้จริง จากการศึกษา และวิจัย พบว่าคุณแม่ที่ฟังเพลงโมสาร์ท จะมีส่วนช่วย พัฒนาสมองของลูกน้อยในครรภ์ได้ เป็นอย่างดี และอีกทั้งการฟังเพลงโมสาร์ท ยังช่วยผ่อนคลาย และช่วยให้สมองรู้สึกโปร่งโล่งสบายอีกด้วย
3. ฟังเพลงช่วยเสริมความคิดสร้างสรรค์
การฟังเพลง ช่วยเสริมสรา้งความคิดสร้างสรรค์ ให้แก่เราได้อย่างไม่น่าเชื่อ เพราะจังหวะเพลง จะช่วยให้เรารู้สึกเพลิดเพลิน และรู้สึกสนุก คิดตามไปกับจังหวะเพลง อีกทั้ง การที่เรารู้สึกสมองปลอดโปร่ง และอารมณ์ดี ทำให้เราคิดสิ่งต่างๆ ได้ดีมากยิ่งขึ้น
4. ดนตรีกระตุ้นพลังทำงาน และความคิดสร้างสรรค์
หลายงานวิจัยยืนยันว่า เมื่อเรามีความสุข สมองจะทำงานได้ดีขึ้น ผลงานเรา จะดีขึ้นตาม โดยภาวะที่เพอร์เฟคท์ที่สุด ในการทำงานของสมอง คือ ตรงกลางระหว่างความรู้สึก ผ่อนคลาย และความรู้สึกตื่นเต้น ภาวะนี้เอง เป็นภาวะที่สมองทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด และดนตรีเป็นหนึ่ง ในเครื่องมือที่ช่วยสร้างภาวะเช่นนี้ ช่องทางพาสนุก Betufa
5. ดนตรีช่วยทบทวนความจำได้ดี
นอกจากนี้ ยังพบว่า การฟังเพลงและดนตรี ยังอาจช่วยให้เกิดการระลึก ความจำตามลำดับ (Serial Recall) ซึ่งสำคัญต่อการเรียนรู้ รวมถึงการเข้าถึงข้อมูลความทรงจำเก่าๆ เห็นได้แม้ในกลุ่มผู้ป่วยเกี่ยวกับสมองเช่น ผู้ป่วยอัลไซเมอร์ ที่เสียการรับรู้จากสิ่งที่เกิดขึ้น โดยมีข้อพิสูจน์ ผ่านผลในการแสกนสมอง ระหว่างเปิดเพลงในช่วงที่ผู้ป่วย อยู่ในวัยยี่สิบกลางๆ
ดนตรีบำบัด ได้รับความนิยม มาเป็นระยะเวลานาน ในทางการแพทย์ ดนตรีบำบัดถูกนำมาใช้เป็นระยะเวลานานแล้ว โดยมีความเชื่อกันว่า ดนตรีจะช่วยให้คนฟังผ่อนคลาย จากอาการเจ็บป่วย และจากความกังวล หรือลดความเครียด นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยที่ศึกษา ในเรื่องของการฟังดนตรีบำบัด ของผู้ป่วยก่อนที่จะเข้ารับการผ่าตัด ว่าช่วยลดความเครียดและความกังวลได้ slotxo
ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียด ลดลงมากกว่าการใช้ยาลดความเครียด การฟังดนตรี ยังช่วยลดภาวะซึมเศร้าได้อีกด้วย โดยช่วยปรับให้อารมณ์สงบขึ้น ทำให้นอนหลับง่ายขึ้น เรียกได้ว่าดนตรีบำบัดเปรียบเหมือนยา ที่มีผลกับจิตใจ ช่วยกระตุ้นสมอง ปรับระดับ Cortisol ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียด ให้คนฟังรู้สึกผ่อนคลายได้
ดนตรีที่ใช้บำบัดนั้น ไม่ได้ถูกจำกัดว่าจะต้องเพลงบรรเลง หรือเสียงธรรมชาติเท่านั้น เพลงทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคลาสสิค แร๊ป ลูกทุ่ง ฮิพฮอพ ฯลฯ ก็ช่วยให้ผ่อนคลายได้หมด ขึ้นอยู่กับความชอบใครฟังเพลงอะไร แล้วรู้สึกร่วมไปกับเพลงที่ฟังมากกว่า
คนที่ใช้ดนตรีบำบัด ไม่จำเป็นว่าจะต้องป่วยอย่างเดียวเท่านั้น เพราะดนตรีบำบัด นอกจากจะช่วยผ่อนคลายความเครียดแล้ว ดนตรียังช่วยพัฒนา และผลักดันศักยภาพ รวมถึงทักษะต่างๆ ให้ดีขึ้นเช่น การทำกายภาพบำบัด ควบคู่กับการทำดนตรีบำบัด ดังนั้น คนที่มีอาการเครียด แต่ยังไม่ถึงกับมีอาการซึมเศร้า
ก็สามารถใช้ดนตรีบำบัด ในการผ่อนคลายได้เช่นเดียวกัน แต่การใช้ดนตรีบำบัดก็แตกต่างกับการฟังดนตรีทั่วไป เพราะการบำบัด จำเป็นต้องให้คนฟังที่บำบัดเข้าถึง และมีสัมพันธภาพทางการบำบัด มีความสัมพันธ์กับเพลง เกิดความเชื่อใจ และมีเป้าหมายในการบำบัดชัดเจน
สุดท้ายแล้ว การที่เราเลือกใช้ดนตรีบำบัด ในการช่วยให้ผ่อนคลายความเครียดนั้น อาจจะไม่ได้อยู่ที่ว่าเรา จะใช้ดนตรีอะไร ในการบำบัด แต่อาจจะเป็นเรา จะเลือกใช้ดนตรีอย่างไร ในการบำบัดมากกว่า เพราะการบำบัด ด้วยดนตรี อาจจะต้องดูความต้องการ หรือวัตถุประสงค์ด้วยว่า
คนที่จะบำบัด เกิดความเครียดจากอะไร และเขามีความชื่นชอบเพลงประเภทไหน การฟังเพลงคลาสสิค หรือเพลงบรรเลงฟังสบาย อาจไม่ใช่สิ่งที่เขาต้องการ หรือช่วยเยียวยา ให้เขาดีขึ้น เราเพียงต้องเลือกให้เหมาะสมและค่อยๆ ปรับเพลงให้เหมาะกับการบำบัด ผ่อนคลายความเครียด
ปัจจุบัน มีการใช้ดนตรีบําบัดโรค ทางจิตเวช ยกตัวอย่างพฤติกรรมถดถอย แยกตัวที่เป็นอาการในลักษณะเรื้อรัง สามารถใช้ดนตรีบําบัดได้ ดังนี้
• เปิดเพลงจังหวะเร้าใจ
• ขยับตัวเข้าจังหวะ
• ใช้ดนตรีแบบเคาะจังหวะ
• ใช้อุปกรณ์เกิดเสียงให้ผู้ป่วยได้เขย่า หรือฟังเพลง
• บอกถึงความรู้สึกที่ได้จากเพลง
• ทําตามนี้ครั้งละ 1-1.30 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
หากทําได้ตามนี้ ผู้ป่วยจะกลับเข้าสู่สังคมได้อย่างรวดเร็วในชั่วโมงที่ 2 ของการบําบัด ผู้ป่วยที่รู้สึกเหงา เศร้าจะยิ้มแย้มได้หลังจากไม่เคยยิ้มมานานอีกด้วยAppline TV ศูนย์รวมละครยอดฮิต
Last Update : 9 กันยายน 2020 (ข้อมูลล่าสุดปี 2020)